ชื่องาน Reserching of Keyboardตัวงานมีขนาด1x3เมตรครับ ตรงบริเวณเหนือป้ายconceptงาน ผมก็ติดงานขนาด3x12ซ.ม.เอาไว้ครับ มันคือการreserchที่ล้มเหลวครับ คือเกิดvisaulที่เล็กกว่าเดิมอีก
วันจันทร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
Process
Content จากที่ได้ทดลองและreserchมาทั้งหมด ในความคิดของผม micro¯oมันคือคำที่บอกลักษณะทำให้คำอื่นเปลี่ยนแปลงในแง่ปริมาณ มากขึ้นหรือน้อยลงเท่านั้นเอง มันไม่สามารถทำให้วัตถุเปลี่ยนแปลงได้ มันทำให้กิโลกลายเป็นกรัม แต่มันก็คือหน่วยของน้ำหนักอยู่ดีครับ แต่คำประเภทนี้เรียกว่าprefixครับ
และแว่นขยาย มีคุณสมบัติขยาย หรือถ้าระยะในการมองไม่ถูกต้องก็จะเกิดการเบลอขึ้นทำให้มองไม่เห็นหรือเลนส์ต่างไป ภาพก็เล็กลง มันก็คือprefixเหมือนกันครับ
Concept ผมเปรียบเทียบคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์คือ prefix ในโลกข้อมูลข่างสารในอินเตอร์เน็ท เช่นการserchตัวdในgoogle ผลที่ได้ออกมานั้นเยอะมากมาย ในแง่ของvisaul งานชิ้นนี้มันก็คือการreserchข้อมูลในงานcommunication design 4ครั้งนี้ครับ ผมใช้คีย์บอร์ดโน๊ตบุ๊คของผมหาข้อมูลมา3เดือน ผมคิว่าผมให้ความสำคัญกับมันครับโดยการขยายมันออกให้ใหญ่ขึ้นหลายขนาดครับ เพราะการreserch มีทั้งได้ข้อมูลมากและน้อยครับ ในแง่เทคนิคการทำ ผมใช้โปรแกรมillus การขยายให้ใหญ่ มันจะทำให้ stoke ใหญ่ไม่เท่ากันในแต่ละตัวอักษร และตัวอักษรที่อยู่ในคีร์บอร์ดก็ไม่ใช่frontชุดเดียวกันทั้งหมด และบางตัวสัญลักษณ์บางอย่างก็ต้องสร้างเองครับ
reserch
คำอุปสรรคจากสถาบันมาตรวัดวิทยาแห่งชาติ คำอุปสรรค หรือ คำนำหน้าหน่วย (prefix) ใช้นำหน้าหน่วย เพื่อทำให้หน่วยที่ใช้ เล็กลง หรือ โตขึ้น เช่น กิโล เซนติ มิลลิ
จากที่ได้mine map ผมก็รวบรวมอะไรที่มีvisualแบบprefixรวมทั้งtypface ก็ได้ต่อมาอีก คือ -หน้ากาก-โลโก้-แว่นขยาย-ทัศนคติ-ระยะ ผมก็เลยลองทำconcept book ชื่อว่า in front of คือรวบรวมสิ่งที่มีคุณสมบัติเหมือนprefixแล้วมาทำให้เกิดvisaulขึ้นมาครับ
จากที่ได้mine map ผมก็รวบรวมอะไรที่มีvisualแบบprefixรวมทั้งtypface ก็ได้ต่อมาอีก คือ -หน้ากาก-โลโก้-แว่นขยาย-ทัศนคติ-ระยะ ผมก็เลยลองทำconcept book ชื่อว่า in front of คือรวบรวมสิ่งที่มีคุณสมบัติเหมือนprefixแล้วมาทำให้เกิดvisaulขึ้นมาครับ
ภาพด้านบนคือตัวอย่างในหนังสือครับ คือวงดนตรีslipknot โดดเด่นด้วยการสร้างคาเร็คเตอร์ที่ดูโหด เข้ากับดนตรี แต่กับพี่หม่ำ แค่หน้าเค้าก็ฮาแล้ว...
แต่ในหนังสือก็จะมีอยู่หลายเรื่องครับ และอาจารย์ก็แนะนำให้ทำเรื่องเดียวไปเลย ก็คือเรื่องแว่นขยายครับ
Prefix
ขอประชาสัมพันธ์หน่อยครับ
ขอเรียนเชิญเข้าร่วมงาน Bangkok Gems & Jewelry Fair ครั้งที่ 41ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ - 2 มีนาคม 2551 ณ อิมเพ็คเมืองทองธานี Challenger Hall 2 ครับ
Content เรื่องMicro&Macro
เปลี่ยนประเด็น
จากการที่ได้ reserch เรื่องความทรงจำ ก็ได้ใช้เวลาอยู่กับมันพอสมควร พอreserchไปๆ ก็ได้ไปเจอเรื่อง memolody และก็ได้รู้ว่าที่ตัวเองคิดมา ผมก็คิดว่ามาถูกทางแล้วเพราะมีทฤษฏีมารองรับ แต่วิธีการไปอาจจะไม่เหมือนกัน
แต่อาจารย์คงเล็งเห็นถึงปัญหาอะไรบางอย่างของห้อง ตอนนี้ท่านเลยให้คำว่าmicroและคำว่าmacroมาให้ทำงานเลย เรื่องความทรงจำก็เลยต้องหยุดไปก่อน แต่ถ้ามีเวลา ผมคิดว่าเรื่องนี้น่าจะคิดต่อไปได้อีก ผมก็จะลองreserchต่อไปเรื่อยๆ ถ้ามีอะไรแปลกใหม่ก็จะมาโพสลงต่อไปครับ
HIPPOCAMPUS THEORY
เรื่อง HIPPOCAMPUS THEORY เป็นทฤษฎีที่มารองรับการเรียนรู้แบบ Memolody จริงๆแล้ว ทฤษฎีนี้ เป็นการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา คือ การค้นพบความลับเกี่ยวกับสมองในเรื่องการจำและกระบวนการทำงานของสมองทางซีกการตัดสินใจ ว่าอะไรที่สมองจะจำนั้นขึ้นอยู่กับสมอง ส่วนHIPPOCAMPUS ที่ฝั่งอยู่กลางสมอง การตัดสินใจสั่งให้สมองจดจำของสมองส่วนนี้จะพิจารณา 2 เงื่อนไข คือ
ข้อมูลหรือความรู้ใหม่ที่ได้รับมีความเกี่ยวข้องกับข้อมูลเก่าในสมองของผู้เรียนหรือไม่ หากไม่มีความเกี่ยวพันสมองจะปฎิเสธการจดจำ ในทางตรงข้าม หากมีความเกี่ยวพันอยู่ สมองจะทำงานได้ดีในการจดจำข้อมูลหรือความรู้ใหม่ๆ ได้ดีกว่า ข้อมูลหรือความรู้ใหม่ที่ได้รับ มีความหมายทางอารมณ์ต่อผู้เรียนหรือไม่ ทุกอารมณ์ ความรู้สึกที่เกิดขึ้น เช่น สนุกมาก โกรธมาก เสียใจมาก เศร้ามาก สมองจะจดจำรายละเอียดเหตุการณ์หรือข้อมูลเหล่านี้ได้เป็นเวลานานกว่าเหตุการณ์อื่นๆ ที่ไม่มีความหมายทางอารมณ์ต่อสมอง
ข้อมูลหรือความรู้ใหม่ที่ได้รับมีความเกี่ยวข้องกับข้อมูลเก่าในสมองของผู้เรียนหรือไม่ หากไม่มีความเกี่ยวพันสมองจะปฎิเสธการจดจำ ในทางตรงข้าม หากมีความเกี่ยวพันอยู่ สมองจะทำงานได้ดีในการจดจำข้อมูลหรือความรู้ใหม่ๆ ได้ดีกว่า ข้อมูลหรือความรู้ใหม่ที่ได้รับ มีความหมายทางอารมณ์ต่อผู้เรียนหรือไม่ ทุกอารมณ์ ความรู้สึกที่เกิดขึ้น เช่น สนุกมาก โกรธมาก เสียใจมาก เศร้ามาก สมองจะจดจำรายละเอียดเหตุการณ์หรือข้อมูลเหล่านี้ได้เป็นเวลานานกว่าเหตุการณ์อื่นๆ ที่ไม่มีความหมายทางอารมณ์ต่อสมอง
ทดลองเรื่องความทรงจำ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)